ตำนานเรื่องเล่า
-
ตำนานกบกินเดือน
ตำนาน กบกินเดือน เรื่องเล่าความเชื่อพื้นบ้านในการเรียกเหตุการณ์สุริยคราสและจันทรคราส ของคนไทย คนไทยยวนล้านนา และไทยอีสาน ส่วนมากจะเรียกเหตุการณ์นี้ว่า “กบกินเดือนและกบกินตะวัน” -
-
-
พญาผาบ (พระยาปราบสงคราม) ผู้ต่อสู้เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม
พญาผาบ (พระยาปราบสงคราม) กบฏพระยาปราบสงครามเกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ที่ตำบลหนองจ๊อม อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ -
-
พระเจ้าฝนแสนห่า
พระเจ้าฝนแสนห่า เป็นพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ที่วิหารวัดช่างแต้มซึ่งอยู่ติดกับวัดเจดีย์หลวง มีพุทธานุภาพดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล -
-
ตำนานเสาอินทขิล เสาหลักเมืองเชียงใหม่
ตำนานอินทขิล หรือ ตำนานสุวรรณคำแดง ที่ พระมหาหมื่นวุฑฒิญาโณ วัดหอธรรม เชียงใหม่ เล่าความเป็นมาของเสาอินทขิลไว้ว่า -
นางอินเหลา
นางอินเหลา เป็นมเหสีของเจ้าหลวงคำแดง ผู้เป็นผีอารักษ์ของเมืองเชียงใหม่ ก่อนที่นางอินเหลาจะอภิเษกกับเจ้าหลวงคำแดง นั้น นางอาศัยอยู่ในถ้ำเชียงดาว -
ตำนานเจ้าหลวงคำแดงและถ้ำเชียงดาว
เรื่องราวที่เล่าขานสืบต่อกันมาเป็นอมตะคู่กับดอยหลวงเชียงดาว คงจะไม่มีสิ่งใดเทียบเทียม "ตำนานเจ้าหลวงคำแดง" และ "ตำนานถ้ำเชียงดาว" ซึ่งร้อยเรียงผสมผสานกับความเชื่อของคนท้องถิ่นได้อย่างลงตัว -
ขุนหลวงวิลังคะ
ต้นกําเนิดของขุนหลวงวิลังคะ เป็นชนชาวลัวะหรือละว้า หรือ ลาวจักราชซึ่งในอดีตชนกลุ่มนี้ ปกครองอาณาจักรล้านนารวม ๘ ดินแดนภาคเหนือของไทยซึ่งแต่เดิมได้ขนานนามว่า “นครทัมมิฬา” -
ตำนานความรักของ ขุนหลวงวิลังคะกับพระนางจามเทวี
เล่ากันว่า ในสมัยที่พระนางจามเทวีปกครองเมืองหริภุญไชยราว พ.ศ. ๑๓๐๐ ในสมัยนั้นเล่ากันว่า นครหริภุญไชยเป็นนครของชนชาติมอญ หรือเม็ง -
ผีกะ กฎข้อห้ามความสัมพันธ์ในชุมชน
เสียงไก่ตัวใหญ่มหึมาแผดเสียงก้องดังจากเนินเขาหน้าวัดประจำหมู่บ้าน ตามมาด้วยฝีเท้าของอาชาไนยผู้วิ่งไวปานลมกรด นวลหญิงสาวตัวน้อยผวาตื่น ไม่กล้าแม้แต่จะกระดิกตัว