ประวัติศาสตร์
-
วันสร้างเมืองเชียงใหม่
วันสร้างเมืองเชียงใหม่ พญามังราย (พ.ศ.๑๘๐๔–๑๘๕๔) กษัตริย์องค์ที่ ๒๕ แห่งราชวงศ์ลวจังกราชแห่งแคว้นโยนก -
ราชวงศ์มังราย
ราชวงศ์มังราย เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพญามังรายจนถึงพระเจ้าเมกุฎิสุทธิวงศ์ (ท้าวแม่กุ) เป็นเวลายาวนานกว่า 260 ปี -
พญาผาบ (พระยาปราบสงคราม) ผู้ต่อสู้เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม
พญาผาบ (พระยาปราบสงคราม) กบฏพระยาปราบสงครามเกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ที่ตำบลหนองจ๊อม อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ -
เวียงเชียงแสน
เวียงเชียงแสน เวียงเจียงแสน คือ เวียง ก่อนที่จะมาเป็นอาณาจักรล้านนา ในปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่บ้านสบคำ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายแคว้นที่สำคัญที่สุดและมีเมืองหลวงอยู่ในอำเภอเชียงแสน ก็คือ แคว้นโยนกนาคพันธุ์ -
-
นิทานล้านนา เรื่อง ควายลุงคำ
ลุงคำอยู่บ้านนอก ไม่เคยไปติดต่อธุระการงานกับทางอำเภอเลย ดังนั้นเรื่องราวหรือวิธีปฏิบัติที่ทางอำเภอได้กระทำไปอย่างไรแกจึงไม่เข้าใจ -
นิทานล้านนา เรื่อง กะตำป๋าค่ำตุ๊ (ศรีธนญชัยรังแกพระ)
นานมาแล้ว มีนางแก้วผู้หนึ่งเป็นคนใจบุญ ชอบทำบุญทำทานเสมอ ตลอดพรรษานางไปทำบุญอยู่ที่วัดหนึ่งมิเคยขาด -
นิทานล้านนา เรื่อง “ไอ้เซี่ยงเมี่ยงค่ำพญา” (ศรีธนญชัยรังแกพญา)
วันหนึ่งเจ้าเมืองเดินทางไปตามบ้านน้อยเมืองใหญ่ ก็ได้ไปพบไอ้ศรีธนญชัย ไม่รู้จักว่าเป็นไอ้ศรีธนญชัย ไอ้ศรีธนญชัยก็ทักเจ้าเมืองว่า ‘' สาธุ ท่านเจ้าเมืองจะไปไหน ‘' -
นิทานล้านนา เรื่อง ใครโง่กว่าใคร
มีเรื่องเล่าต่อ ๆ กันมาว่า หมายปีมาแล้ว มีชายผู้หนึ่งชื่อ คง ทิดคงนี้เคยบวชเป็นพระภิกษุหลายพรรษา ต่อมาได้สึกและแต่งงานอยู่กินกับภรรยาจนมีบุตรคนหนึ่ง -
นิทานล้านนา เรื่อง เซี่ยงเมี่ยงแบ่งช้าง
บรรดาบุคคลที่เฉลียวฉลาดและสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยคล่องแคล่วว่องไวใน วรรณคดีของไทยแล้ว ทุกคนต้องยกให้เซี่ยงเมี่ยง -
นิทานล้านนา เรื่อง ปู่ปันแน
ในรัชสมัยที่นครพิงค์ยังมีเจ้าผู้ครองนครอยู่ ทุก ๆ สามปี เจ้าผู้ครองนครจะต้องส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองไปเป็นบรรณาการทางกรุงเทพฯ เป็นประจำ -
-
พระเจ้าฝนแสนห่า
พระเจ้าฝนแสนห่า เป็นพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ที่วิหารวัดช่างแต้มซึ่งอยู่ติดกับวัดเจดีย์หลวง มีพุทธานุภาพดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล -
-
ตำนานเสาอินทขิล เสาหลักเมืองเชียงใหม่
ตำนานอินทขิล หรือ ตำนานสุวรรณคำแดง ที่ พระมหาหมื่นวุฑฒิญาโณ วัดหอธรรม เชียงใหม่ เล่าความเป็นมาของเสาอินทขิลไว้ว่า -
หิรัญนครเงินยางเชียงราว
หิรัญนครเงินยางเชียงราว หรือ หิรัญนครเงินยางเชียงแสน เป็นอาณาจักรหนึ่งในประเทศไทย หลังจากเวียงปรึกษาได้ปกครองพื้นที่แถวๆนั้นได้ 93 ปี ก็เป็นอันอวสานของเวียง เนื่องจากเมื่อปี พ.ศ. 1181 พระยากาฬวรรณดิศราช หรือ พญาอนิรุทธ กษัตริย์ แห่งทวารวดีได้เสด็จขึ้นมาสนับสนุนพญาลวจักรราช ผู้มีเชื้อสายของปู่เจ้าลาวจก หรือผู้ที่ขายดอยตุงให้นครโยนกนาคพันธุ์ สร้างพระธาตุดอยตุง ขึ้นเป็นกษัตริย์ ของเวียงปรึกษา พญาลวจักรราช จึงตั้งชื่อให้ราชวงศ์ใหม่ของพระองค์นี้ว่า ราชวงศ์ลวจักรราช ... -
-
นางอินเหลา
นางอินเหลา เป็นมเหสีของเจ้าหลวงคำแดง ผู้เป็นผีอารักษ์ของเมืองเชียงใหม่ ก่อนที่นางอินเหลาจะอภิเษกกับเจ้าหลวงคำแดง นั้น นางอาศัยอยู่ในถ้ำเชียงดาว -
ตำนานเจ้าหลวงคำแดงและถ้ำเชียงดาว
เรื่องราวที่เล่าขานสืบต่อกันมาเป็นอมตะคู่กับดอยหลวงเชียงดาว คงจะไม่มีสิ่งใดเทียบเทียม "ตำนานเจ้าหลวงคำแดง" และ "ตำนานถ้ำเชียงดาว" ซึ่งร้อยเรียงผสมผสานกับความเชื่อของคนท้องถิ่นได้อย่างลงตัว -
ขุนหลวงวิลังคะ
ต้นกําเนิดของขุนหลวงวิลังคะ เป็นชนชาวลัวะหรือละว้า หรือ ลาวจักราชซึ่งในอดีตชนกลุ่มนี้ ปกครองอาณาจักรล้านนารวม ๘ ดินแดนภาคเหนือของไทยซึ่งแต่เดิมได้ขนานนามว่า “นครทัมมิฬา” -
ตำนานความรักของ ขุนหลวงวิลังคะกับพระนางจามเทวี
เล่ากันว่า ในสมัยที่พระนางจามเทวีปกครองเมืองหริภุญไชยราว พ.ศ. ๑๓๐๐ ในสมัยนั้นเล่ากันว่า นครหริภุญไชยเป็นนครของชนชาติมอญ หรือเม็ง -
ผีกะ กฎข้อห้ามความสัมพันธ์ในชุมชน
เสียงไก่ตัวใหญ่มหึมาแผดเสียงก้องดังจากเนินเขาหน้าวัดประจำหมู่บ้าน ตามมาด้วยฝีเท้าของอาชาไนยผู้วิ่งไวปานลมกรด นวลหญิงสาวตัวน้อยผวาตื่น ไม่กล้าแม้แต่จะกระดิกตัว -
อำเภอเมืองเชียงใหม่
เป็นศูนย์กลางการบริหาร ความเจริญศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ นับเป็นเมืองที่มีความเจริญมากที่สุดของจังหวัดและของภาคเหนือ -
ประวัติศาสตร์ล้านนา
ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ดินแดนล้านนาได้พัฒนาการจากแว่นแคว้น – นครรัฐมาสู่รัฐแบบอาณาจักร มีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง รัฐแบบอาณาจักรสถาปนาอำนาจโดยรวบรวมแว่นแคว้น -
อาณาจักรล้านนา
อาณาจักรล้านนา คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา -
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม