เครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนา
-
กลองมองเซิง
คือกลองที่ขึงด้วยหนังทั้งสองหน้า มีสายโยงเร่งเสียง รูปร่างคล้าย ตะโพนมอญ ไม่มีขาตั้ง แต่มีสายร้อย สำหรับคล้องคอเวลาตี เวลาตีไม่ต้องติดจ่ากลอง ชื่อกลองมองเซิง เป็นภาษาไทใหญ่ แปลว่า ฆ้องชุด -
กลองปู่เจ่
มาจากของไทใหญ่เรียกว่ากลองก้นยาว แต่ทางบ้านเราเรียกว่ากลองปู่เจ่ บางทีเรียกอุ้งเจ่ แต่ถ้าเป็นของไตใหญ่จะเรียกกลองก้นยาวทั้งหมด -
กลองชัยยะมงคล หรือ กลองบูชา
เป็นกลองพื้นเมืองของล้านนาแต่ดั้งเดิม โดยพบหลักฐานเกี่ยวกับกลองชัยยะมงคลในธัมม์โบราณของล้านนา ในอดีตใช้เฉพาะในวังพระยาเจ้าเมืองเป็นผู้นำมาใช้เป็นคนแรก -
กลองแอว หรือ กลองตึ่งโนง
กลองแอว หรือที่นิยมเรียกกันว่า กลองตึงโนง เป็นกลองพื้นบ้านล้านนาที่มีใช้อย่างยาวนาน กลองชนิดนี้มีชื่อเรียกตามเสียงที่ได้ยินออกมาจาก การตี -
กลองพื้นเมืองล้านนา
ล้านนาเป็นอาณาจักรเก่าแก่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน ดินแดนล้านนาเป็นแหล่งรวบรวมศิลปะวัฒนธรรมของผู้คนหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ -
-
-
พิณเพียะ (พิณเปี๊ยะ)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีดอย่างหนึ่งของล้านนาที่มีมาแต่โบราณ แต่กำลังจะเสื่อมความนิยมและอาจจะสูญสิ้นไปในที่สุด -
-
-
ประวัติดนตรีล้านนา
ดนตรีการล้านนามีมานานตามที่ปรากฏจากหลักฐานในอดีตถึงปัจจุบันกล่าวถึงเครื่องดนตรีบางประเภทอาจไม่มีใครเคยคิดว่าเป็นสิ่งที่อยู่กับล้านนามาก่อน