การละเล่นพื้นเมือง
-
สาวมอเตอร์ไซค์ – จรัล มโนเพ็ชร -สุนทรี เวชานนท์
เนื้อเพลง : สาวมอเตอร์ไซค์ - จรัล มโนเพ็ชร -สุนทรี เวชานนท์ คำร้อง – ทำนอง : จรัล มโนเพ็ชร ขับร้อง : จรัล มโนเพ็ชร สุนทรี เวชานนท์ อ้ายคนจนจำต้องทนปั่นรถถีบ จะไปจีบอีน้องคนงาม -
ล่องแม่ปิง – จรัล มโนเพ็ชร
เนื้อเพลง : ล่องแม่ปิง - จรัล มโนเพ็ชร คำร้อง – ทำนอง : จรัล มโนเพ็ชร ขับร้อง : จรัล มโนเพ็ชร ดอกบัวตองนั้นบานอยู่บนยอดดอยดอกเอื้องสามปอย บ่เกยเบ่งบานบนลานพื้นดิน ไม้ใหญ่ไพรสูง นกยูงมาอยู่กิน เสียงซึงสะล้อ..จ๊อยซอเสียงพิณ -
อุ๊ยคำ – จรัล มโนเพ็ชร
เนื้อเพลง : อุ๊ยคำ - จรัล มโนเพ็ชร คำน้อง ทำนอง : จรัล มโนเพ็ชร ขับร้อง : จรัล มโนเพ็ชร อุ๊ยคำ อุ๊ยคำ อุ๊ยคำ อุ๊ยคำคนแก่ ท่าทางใจดี ลูกผัวบ่มี อยู่ตัวคนเดียว มะแลงแดดอ่อน อุ๊ยคำกำเคียว เกี่ยวผักบุ้ง ... -
มะเมี๊ยะ – จรัล มโนเพ็ชร
เนื้อเพลง : มะเมี๊ยะ - จรัล มโนเพ็ชร คำร้อง – ทำนอง : จรัล มโนเพ็ชร ขับร้อง : จรัล มโนเพ็ชร -
แอ่วสาว – จรัล มโนเพ็ชร
เนื้อเพลง : แอ่วสาว - จรัล มโนเพ็ชร แอ่วสาวบ้านเฮา มันเป๋นดีเมา ดีม่วน เปิงดีจวน หื้ออ้ายมาม่วน มาเมา สาวน้อย สาวจี๋ แหมซ้ำยังมีสาวเฒ่า ดอกสลิดติดเก๊า กั๋วเป๋นบ่าวเฒ่าอ้ายใจ๋บ่ดี -
บ้านบนดอย – จรัล มโนเพ็ชร
เนื้อเพลง บ้านบนดอย – จรัล มโนเพ็ชร เพลง : บ้านบนดอย ศิลปิน : จรัล มโนเพ็ชร บ้านข้าอยู่บนดอย เมฆหมอกลอยเต็มฟ้า อยู่กลางพงพนา อยู่ตามประสาคนดอย ข้าบ่รวยบ่จน บ่เป็นคนสำออย เกิดเป็นคนบนดอย -
พี่สาวครับ – จรัล มโนเพ็ชร
บทเพลงอมตะของ จรัล มโนเพ็ชร อีกหนึ่งบทเพลงที่ยังฮิตติดหู และยังมีคนเปิดฟังอยู่จนถึงทุกวันนี้ คงจะเป็นเพลงไหนไปไม่ได้นอกจากเพลงนี้อีกแล้ว "พี่สาวครับ" -
สาวเชียงใหม่ – จรัล มโนเพ็ชร
เพลงสาวเชียงใหม่ - จรัล มโนเพ็ชร ข้าเจ้าเป๋นสาวเจียงใหม่ แฮมบ่อเต้าใดก็จะเป็นสาวแล้ว ตึงวันมีบ่าวมาแอ่ว มาอู้มาแซว เป็นคนหละปูน -
กลองสะบัดชัย
การตีกลองสะบัดชัย เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนาอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะพบเห็นในขบวนแห่หรืองานแสดงศิลปะพื้นบ้านโดยทั่วไป ลีลาในการตีมีลักษณะโลดโผนเร้าใจ -
กลองมองเซิง
คือกลองที่ขึงด้วยหนังทั้งสองหน้า มีสายโยงเร่งเสียง รูปร่างคล้าย ตะโพนมอญ ไม่มีขาตั้ง แต่มีสายร้อย สำหรับคล้องคอเวลาตี เวลาตีไม่ต้องติดจ่ากลอง ชื่อกลองมองเซิง เป็นภาษาไทใหญ่ แปลว่า ฆ้องชุด -
กลองปู่เจ่
มาจากของไทใหญ่เรียกว่ากลองก้นยาว แต่ทางบ้านเราเรียกว่ากลองปู่เจ่ บางทีเรียกอุ้งเจ่ แต่ถ้าเป็นของไตใหญ่จะเรียกกลองก้นยาวทั้งหมด -
กลองชัยยะมงคล หรือ กลองบูชา
เป็นกลองพื้นเมืองของล้านนาแต่ดั้งเดิม โดยพบหลักฐานเกี่ยวกับกลองชัยยะมงคลในธัมม์โบราณของล้านนา ในอดีตใช้เฉพาะในวังพระยาเจ้าเมืองเป็นผู้นำมาใช้เป็นคนแรก -
กลองแอว หรือ กลองตึ่งโนง
กลองชนิดนี้มีชื่อเรียกตามเสียงที่ได้ยินออกมาจาก การตี คือ กลองเป็นเสียง “ตึ่ง” ฆ้องเป็นเสียง “โนง” จึงนิยมเรียกว่า “กลองตึงโนง” -
กลองพื้นเมือง
ล้านนาเป็นอาณาจักรเก่าแก่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน ดินแดนล้านนาเป็นแหล่งรวบรวมศิลปะวัฒนธรรมของผู้คนหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ -
-
-
พิณเพียะ (พิณเปี๊ยะ)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีดอย่างหนึ่งของล้านนาที่มีมาแต่โบราณ แต่กำลังจะเสื่อมความนิยมและอาจจะสูญสิ้นไปในที่สุด -
-
-
เพลงน้อยใจยา – จรัล สุนทรีย์
เรื่องราวของ "น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นเรื่องราวความรักของหนุ่มชาวบ้านชื่อ “น้อยใจยา” (คนเมืองเวลาบวชเป็นเณร เมื่อสึกออกมาจะนำหน้าว่า “น้อย” นำหน้า -
ประวัติดนตรีล้านนา
ดนตรีการล้านนามีมานานตามที่ปรากฏจากหลักฐานในอดีตถึงปัจจุบันกล่าวถึงเครื่องดนตรีบางประเภทอาจไม่มีใครเคยคิดว่าเป็นสิ่งที่อยู่กับล้านนามาก่อน -
-
-
-
-
ฟ้อนก๋ายลาย
ฟ้อนก๋ายลาย เป็นการฟ้อนโบราณที่บางท่ารำคล้ายกับการฟ้อนลื้อสันนิษฐานว่าเป็นการฟ้อนแสดงความปิติยินดีของชาวบ้านในงานบุญ เป็นที่แพร่หลายในอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่มากกว่า ๑๒๐ ปี -
ฟ้อนน้อยใจยา
เป็นฉากหนึ่งของละครเพลงชื่อเดียวกัน ได้แต่งขึ้นในปี พ.ศ. 2464 โดยท้าวสุนทรโวหาร ถวายแก่เจ้าดารารัศมีในวันเกิดของท่าน ต่อมาเจ้าดารารัศมีได้ขัดเกลาบางตอนของละครและแต่งเพลงน้อยใจยาขึ้น -
ฟ้อนโยคีถวายไฟ
เจ้าแก้วนวรัฐ (พ.ศ. 2454-2482) เจ้าครองเมืองเชียงใหม่องค์สุดท้ายได้ทรงให้นักดนตรีในวังของท่านและครูช่างฟ้อนชาวพม่าร่วมกันคิดท่ารำและบทเพลงขึ้น -
ฟ้อนไตลื้อ
การฟ้อนนี้เดิมเป็นการฟ้อนของชาวไทยลื้อ หมู่บ้านหนองบัว อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน บรรพบุรุษของชาวไทยลื้อนี้เดิมเป็นพวกอพยพสงครามจากแคว้นสิบสองปันนา -
ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา
เป็นการฟ้อนผสมระหว่างการฟ้อนในราชสำนักพม่าและรำไทยพระราชชายาเจ้าดารารัศมีได้ทรงให้ครูช่างฟ้อนชาวพม่าและครูช่างฟ้อนในวังของท่านคิดท่ารำขึ้นมาระหว่างปี พ.ศ. 2458-2469